วันอาทิตย์ที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

สมบัติของการไม่เท่ากัน

สมบัติของการไม่เท่ากัน
 กำหนดให้ a, b, c เป็นจำนวนจริงใดๆ
 1.สมบัติการถ่ายทอด     ถ้า a > b และ b > c แล้ว a > c
 2.สมบัติการบวกด้วยจำนวนที่เท่ากัน ถ้า a > b แล้ว a + c > b+ c
 3.จำนวนจริงบวกและจำนวนจริงลบ
  a เป็นจำนวนจริงบวก ก็ต่อเมื่อ a > 0
  a เป็นจำนวนจริงลบ ก็ต่อเมื่อ a < 0
 4.สมบัติการคูณด้วยจำนวนเท่ากันที่ไม่เท่ากับศูนย์
  ถ้า a > b และ c > 0 แล้ว ac > bc
  ถ้า a > b และ c < 0 แล้ว ac < bc
 5.สมบัติการตัดออกสำหรับการบว ถ้า a + c > b + c แล้ว a > b
 6.สมบัติการตัดออกสำหรับการคูณ
  ถ้า ac > bc และ c > 0 แล้ว a > b
  ถ้า ac > bc และ c < 0 แล้ว a < b อ่านเพิ่มเติม

จำนวนจริง

จำนวนจริง
เซตของจำนวนจริงประกอบด้วยสับเซตที่สำคัญ  ได้แก่
- เซตของจำนวนนับ/ เซตของจำนวนเต็มบวก เขียนแทนด้วย  I
                   I = {1,2,3…}
เซตของจำนวนเต็มลบ  เขียนแทนด้วย  I
เซตของจำนวนเต็ม เขียนแทนด้วย I
                   I = { …,-3,-2,-1,0,1,2,3…}
เซตของจำนวนตรรกยะ เซตของจำนวนจริงที่สามารถเขียนได้ในรูปเศษส่วน      โดยที่ a,เป็นจำนวนเต็ม  และ b = 0 อ่านเพิ่มเติม 

การหาค่าความจริงขิงประพจน์

การหาค่าความจริงของประพจน์
      ตารางค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อมแบบต่างๆที่กล่าวมาแล้วมีแล้วไว้เพื่อช่วยในการหาว่า
ประพจน์ใดเป็นจริงหรือเท็จ ดังในตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่1 จงหาค่าความจริงของประโยคต่อไปนี้ “เชียงใหม่และธนบุรีเคยเป็นเมืองหลวงของไทย” 
วิธีทำ ให้ p แทน เชียงใหม่เคยเป็นเมืองหลวงของไทย ให้ q แทน ธนบุรีเคยเป็นเมืองหลวงของไทย
ประโยคที่กำหนดให้อยู่ในรูป p  qเนื่องจาก p เป็นเท็จ และ q เป็นจริง จะได้ p  q เป็นเท็จ
ดังนั้น 
อ่านเพิ่มเติม